Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine

阿是穴(อาซื่อเซฺวี่ย)
嗳气(เสียงเรอ)
艾条(โกฐรูปแท่ง)
艾炷(โกฐรูปกรวย)
艾炷灸(การรมยาด้วยโกฐ)
安神剂(ตำรับยาสงบจิตใจ)
安神药(ยาสงบจิตประสาท)
按法(การกด )
按摩(การนวด)
按手足(การคลำมือและเท้า)
按腧穴(การคลำจุดฝังเข็ม)
八段锦(ท่าการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ)
八纲辨证(การวิเคราะห์แยกกลุ่มอาการของโรคจากหลักทั้ง 8)
八会穴(จุดปาฮุ่ย)
八脉交会穴(เป็นจุดที่จิงชี่ บนเส้นลมปราณ 12 เส้นหลักกับเส้นพิเศษ 8 เส้นเชื่อมถึงกันได้ )
拔毒化腐生肌药(กลุ่มยาที่ใช้ดูดพิษ รักษาแผลเน่าเบื่อย และเรียกเนื้อ)
拔罐疗法(วิธีการรักษาโดยการครอบกระปุก)
白㾦(โรคผิวหนังชนิดหนึ่งมีลักษณะเป็นตุ่มน้ำพองใส)
白苔()
斑(ผิวหนังสีแดงเข้มอมม่วง)
扳法(ท่าดึง)
瘢痕灸(รอยแผลเป็นจากการรมยา)
斑秃(ผมร่วงเป็นหย่อม)
别络(เส้นลั่วใหญ่ 15 เส้น)
禀赋()
病(โรค)
病机(กลไกการเกิดโรค )
病脉(ชีพจรที่บ่งบอกโรค )
病色(สีหน้าบ่งบอกโรค)
病因()
补虚药(ยาเสริมและบำรุงร่างกาย)
补血剂(ตำรับยาบำรุงเลือด)
补血药(ยาบำรุงเลือด)
补阳剂(ตำรับยาบำรุงหยาง)
补阳药 (ยาบำรุงหยาง)
补益剂(ตำรับยาบำรุง)
补阴剂(ตำรับยาบำรุงอิน)
补阴药(ยาบำรุงอิน)
布指(การจัดวางนิ้วเพื่อตรวจชีพจร)
藏而不泻(อวัยวะจั้งมีหน้าที่เก็บกักโดยไม่ระบายออก)
藏象(อาการที่แสดงออกทางสรีวิทยาหรือพยาธิวิทยาของอวัยวะภายใน)
草药(ยาพื้นบ้านจีน)
刺激强度(ความแรงของการกระตุ้นเข็ม)
茶剂(ชาชงสมุนไพร)
搽剂(ยาทาถูนวด)
燀法(การลวกด้วยน้ำเดือด)
颤动舌(ลิ้นสั่น )
肠热腑实证(กลุ่มอาการลำไส้ร้อนแกร่ง)
常色(สีหน้าปกติ)
炒法(การผัด, การคั่ว)
沉脉 (ชีพจรจม )
臣药(ตัวยาเสริม)
迟脉(ชีพจรเต้นช้า)
齿痕舌(ขอบลิ้นมีรอยฟัน)
齿衄(เลือดออกตามไรฟัน)
冲服(ยาชงดื่ม)
冲脉(เส้นลมปราณชง )
重阳必阴(หยางมากถึงขีดสุดแปรสภาพเป็นอิน )
重阴必阳(อินมากถึงขีดสุดแปรสภาพเป็นหยาง)
抽气拔罐法(วิธีครอบกระปุกแบบดูดอากาศออก)
出针(การถอนเข็ม)
戳法(การกดกระแทก)
刺法灸法学(ศาสตร์การแทงเข็มและรมยา)
刺激参数(ตัวเลขแสดงค่าการกระตุ้นเข็ม)
刺络拔罐法(วิธีครอบกระปุกแบบเคาะผิวหนัง)
刺手(มือแทงเข็ม )
刺血拔罐法(วิธีครอบกระปุกแบบปล่อยเลือด)
腠理 ()
卒发(เกิดโรคแบบเฉียบพลัน)
促脉(ชีพจรเต้นเร็ว มีจังหวะหยุดไม่แน่นอน)
催气 (การเร่งชี่)
寸口(การตรวจชีพจรข้อมือ )
搓法(การปั่น )
大补大泻(การกระตุ้นเข็มแบบบำรุงและระบายอย่างแรง)
大肠传化糟粕(การลำเลียงกากอาหารของลำไส้ใหญ่)
大肠湿热证(กลุ่มอาการลำไส้ใหญ่ร้อนชื้น)
大肠液亏证(กลุ่มอาการลำไส้ใหญ่ขาดสารน้ำ)
大肠主津(ลำไส้ใหญ่กำกับการสร้างจิน)
代脉(ชีพจรเต้นช้า มีจังหวะหยุดแน่นอน )
带脉(เส้นลมปราณไต้)
丹毒(โรคไฟลามทุ่ง)
单方(ตำรับยาเดี่ยว )
单手进针法(วิธีแทงเข็มด้วยมือเดียว)
丹田(ตำแหน่งตันเถียน)
单行(ตัวยาเดี่ยว)
丹药(ยาเม็ดเล็ก, เพลเลต)
胆为中清之腑(ถุงน้ำดีเป็นอวัยวะฝู่ที่ใสสะอาดบริสุทธิ์)
胆为中正之官(ถุงน้ำดีดุจข้าราชการที่เที่ยงตรง)
胆郁痰扰证(กลุ่มอาการชี่ของถุงน้ำดีติดขัดจากเสมหะรบกวน)
胆主决断(ถุงน้ำดีกำกับการตัดสินใจ)
淡白舌(ลิ้นขาวซีด )
但寒不热(รู้สึกหนาวแต่ไม่มีไข้)
淡红舌(ลิ้นสีแดงอ่อน)
但热不寒(รู้สึกมีไข้แต่ไม่หนาว)
导引(การออกกำลังกายแบบเต๋า)
道地药材(สมุนไพรเฉพาะพันธุ์ที่ปลูกได้เฉพาะถิ่น)
盗汗(เหงื่อลักออก)
得气(การได้ชี่)
得神(มีเสิน )
灯火灸(การรมยาโดยใช้ไส้หญ้าปล้อง)
经方()
经筋(เส้นลมปราณเอ็น)
精亏(ขาดสารจิง)
经络(เส้นลมปราณ)
经络现象(การแสดงออกของเส้นลมปราณ)
经络学(ศาสตร์ระบบเส้นลมปราณ)
经络诊断(การวินิจฉัยโดยอาศัยเส้นลมปราณ)
经脉(เส้นลมปราณ)
经脉循行(วิถีการไหลเวียนของเส้นลมปราณ)
精明之腑(สมองเป็นสุดยอดแห่งอวัยวะกลวง)
经气(ชี่ของเส้นลมปราณ)
精室()
经外奇穴(จุดฝังเข็มนอกระบบ )
经(穴)(เซฺวี่ย)
精血同源(สารจำเป็นและเลือดมาจากแหล่งกำเนิดเดียวกัน)
经穴指压疗法(วิธีการรักษาโดยใช้นิ้วกดจุดฝังเข็ม)
井(穴)(จุดจิ่ง)
镜面舌(ลิ้นกระจก)
灸法(การรมยา )
酒剂(ยาดองเหล้า)
灸剂(ยาม้วนลนไฟ)
酒煎()
九窍 (ทวารทั้ง 9 )
酒齄鼻(ปลายจมูกแดงเหมือนดื่มเหล้า)
九针(เข็มโบราณ 9 ชนิด )
疽(ฝีไม่มีหัว)
君火(ไฟราชา)
君药(ตัวยาหลัก )
峻下逐水药 (ยารุ, ยาถ่ายขับน้ำอย่างแรง )
开阖补泻(ปิดหรือเปิดจุดเพื่อบำรุงและระบาย )
开窍剂(ตำรับยาเปิดช่องทวาร )
开窍药(: ยาเปิดทวาร )
颗粒剂(ยาผงแกรนูล)
恐伤肾(อารมณ์กลัวมีผลเสียต่อไต)
芤脉(ชีพจรลอยใหญ่แต่ช่วงกลางว่างเปล่า)
口疮(แผลเยื่อบุช่องปาก )
口噤(อ้าปากไม่ได้)
口渴(กระหายน้ำ)
口味(การรับรู้รสของปาก )
雷火神针(การรมยาแบบเหลย์หั่ว )
冷服()
理气剂(ตำรับยาปรับการไหลเวียนของชี่ )
理气药(ยาปรับการไหลเวียนของชี่ )
理血剂(ตำรับยาปรับการไหลเวียนของเลือด )
里证(กลุ่มอาการภายใน )
疠气(ปัจจัยก่อโรคติดต่อหรือโรคระบาด)
利水渗湿剂(ตำรับยาขับปัสสาวะเพื่อระบายความชื้น)
利水渗湿药(ยาขับปัสสาวะเพื่อระบายความชื้น)
敛肺止咳剂(ตำรับยาสมานปอดระงับไอ)
凉开剂(ตำรับยาเปิดช่องทวารประเภทยาเย็น)
裂纹舌(ลิ้นมีรอยแตกระแหง)
灵龟八法(การฝังเข็มแบบหลิงกุยปา)
另煎(แยกต้ม)
留罐(การคากระปุก)
留针(การคาเข็ม )
六腑(อวัยวะกลวงทั้ง 6 )
六经辨证(การวิเคราะห์แยกกลุ่มอาการตามเส้นลมปราณทั้ง 6)
六淫(ปัจจัยก่อโรคภายนอกทั้ง 6 )
捋顺法(การรูด)
络穴(จุดลั่ว)
络脉(เส้นลั่ว )
脉(หลอดเลือด, ชีพจร, เส้นลมปราณ )
麦粒灸()
脉象 (ลักษณะชีพจร )
满而不实(เต็มแต่ไม่เกิน )
芒刺舌(ลิ้นมีตุ่มนูน)
芒针疗法(การรักษาด้วยเข็มยาว )
梅花针(เข็มดอกเหมย )
泌别清浊()
面红如妆(หน้าแดงเหมือนทาชาด )
面色晄白(สีหน้าขาวซีด)
面色黄胖(ใบหน้าบวมฉุเหลือง )
面色黧黑(สีหน้าดำคล้ำ )
面色萎黄(สีหน้าซูบเหลือง)
摩法(การลูบ)
膜原()
母病及子(แม่ป่วยกระทบถึงลูก )
募穴(จุดมู่)
拿法(การจับบีบ )
纳呆(เบื่ออาหาร )
纳甲法 (การฝังเข็มแบบน่าเจี่ย )
纳子法(การฝังเข็มแบบน่าจื่อ)
内生五邪(ปัจจัยก่อโรคทั้ง 5 ที่เกิดจากภายในร่างกาย)
内因(ปัจจัยก่อโรคภายในร่างกาย)
腻苔(ลิ้นมีฝ้าเหนียว)
捻入进针法(วิธีแทงเข็มโดยการปั่นเข็ม )
捻转(การปั่นเข็ม)
捻转补泻(การปั่นเข็มเพื่อการบำรุงและระบาย)
尿道涩痛(ปวดท่อปัสสาวะ)
怒伤肝(อารมณ์โกรธมีผลเสียต่อตับ)
呕吐(อาเจียน)
膀胱气化(กระเพาะปัสสาวะมีหน้าที่รับและขับถ่ายปัสสาวะ)
膀胱湿热证(กลุ่มอาการกระเพาะปัสสาวะร้อนชื้น)
炮制(การเตรียมตัวยาพร้อมใช้ )
培土生金法(วิธีบำรุงดินเพื่อสร้างทอง )
培土制水法(วิธีบำรุงดินเพื่อควบคุมน้ำ)
配伍(การจับคู่ยา )
配伍禁忌(ข้อห้ามในการจับคู่ยา )
配穴法(การจับคู่จุดฝังเข็ม )
喷雾剂(ยาพ่น)
水飞法()
水谷精微(สารจำเป็น)
水煎()
水停证(กลุ่มอาการน้ำคั่ง)
数脉(ชีพจรเต้นเร็ว)
思伤脾(อารมณ์ครุ่นคิดมีผลเสียต่อม้าม)
司外揣内(การประเมินโรคภายในจากการสังเกตอาการภายนอก)
四海(ซื่อไห่ )
四气(คุณสมบัติ 4 อย่างของยาจีน)
四肢抽搐(แขนขาชักกระตุก)
髓之腑(กระดูกเป็นที่อยู่ของไขกระดูก)
孙络(เส้นลั่วฝอย)
太极拳(มวยไท่จี๋ หรือมวยไท่เก๊ก)
太息(ถอนหายใจ)
太乙神针(การรมยาแบบไท่อี่ )
弹柄法(การดีดเข็ม)
弹拨法(การดีด หรือการดึงปล่อย )
痰火扰心证(กลุ่มอาการไฟเสมหะรบกวนหัวใจ )
痰迷心窍证(กลุ่มอาการเสมหะบดบังทวารหัวใจ)
痰热壅肺证(กลุ่มอาการเสมหะร้อนอุดกั้นปอด)
痰湿阻肺证(กลุ่มอาการเสมหะชื้นอุดกั้นปอด )
痰饮(เสมหะและน้ำเสีย หรือสิ่งปฏิกูลที่เป็นของเหลว)
痰证(กลุ่มอาการที่เกิดจากเสมหะ)
汤剂(ยาต้ม)
糖浆剂(ยาน้ำเชื่อม)
体表解剖标志取穴法(จุดพิเศษ)
体表解剖标志取穴法()
提插(การซอยเข็ม )
提插补泻(การซอยเข็มเพื่อบำรุงและระบาย )
提留针法(การถอยเข็มแล้วคาไว้ )
提捏进针法(การแทงเข็มโดยการหยิบดึงผิวหนัง )
体强(สุขภาพแข็งแรง )
体弱(สุขภาพอ่อนแอ)
体征(อาการแสดง)
体质(พื้นฐานสุขภาพของร่างกาย )
天癸(สารจำเป็นในไตที่สัมพันธ์กับการเจริญพันธุ์)
天人相应(ความสอดคล้องกันของมนุษย์และธรรมชาติ )
调和肠胃剂(ตำรับยาปรับสมดุลกระเพาะอาหารและลำไส้)
调和肝脾剂(ตำรับยาปรับสมดุลม้ามและตับ )
调和药(ยาปรับสมดุล )
挑刺法(วิธีการใช้เข็มสะกิด )
贴棉拔罐法(วิธีการครอบกระปุกแบบเผาสำลี )
同病异治(โรคเหมือนกันรักษาต่างกัน )
同名经配穴法(วิธีการจับคู่จุดฝังเข็มบนเส้นลมปราณที่มีชื่อเดียวกัน)
通行元气(ทางเดินของเหวียนชี่)
同身寸(ชุ่นเฉพาะบุคคล)
投火拔罐法(วิธีการครอบกระปุกแบบโยนไฟ )
头皮针疗法 (การฝังเข็มหนังศีรษะ)
头痛(ปวดศีรษะ)
头晕(เวียนศีรษะ)
透天凉(ทะลวงฟ้าให้เย็น)
吐弄舌(แลบลิ้นเล่น)
推法(การดัน )
推拿(การนวดจีน)
推拿学(ศาสตร์การนวดจีน)
脱液(สูญเสียสารน้ำปริมาณมาก)
歪斜舌(ลิ้นเบี้ยว)
外因(สาเหตุก่อโรคภายนอก)
外用膏剂(ยากอเอี๊ยะ ครีมและขี้ผึ้งที่ใช้ภายนอก)
弯针(เข็มงอ)
丸剂(ยาลูกกลอน)
望色(การดูสี )
望神(การดูเสิน)
亡阳证(กลุ่มอาการหยางดับ)
亡阴证(กลุ่มอาการอินดับ )
煨法(การหมกตัวยา)
围刺法()
胃寒证(กลุ่มอาการกระเพาะอาหารเย็น )
卫气(ชี่คุ้มกัน )
痿软舌()
胃热证(กลุ่มอาการกระเพาะอาหารร้อน )
胃脘()
胃喜润恶燥(กระเพาะอาหารชอบความชุ่มชื้นแต่ไม่ชอบความแห้ง)
胃阴虚证(กลุ่มอาการอินของกระเพาะอาหารพร่อง)
胃主受纳()
温服()
温和灸(การรมยาแบบพออุ่น)
温化水湿剂 (ตำรับยาทำให้อบอุ่นแก้ภาวะน้ำชื้น)
温经散寒剂 (ตำรับยาอบอุ่นเส้นลมปราณเพื่อขับกระจายหนาว )
温开剂(ตำรับยาเปิดทวารประเภทยาอุ่น )
温里剂(ตำรับยาอุ่นภายใน )
温里药(ยาอุ่นภายใน )
温下剂(ตำรับยาอุ่นระบายท้อง)
温燥(กลุ่มโรคอุ่นแห้ง )
温燥化痰剂 (ตำรับยาอบอุ่นทำให้แห้งเพื่อสลายเสมหะ)
温针灸(วิธีฝังเข็มอุ่น)
温中散寒剂(ตำรับยาอบอุ่นจงเจียวเพื่อขับกระจายหนาว )
文火(ไฟอ่อน)
问诊(การถาม )
武火(ไฟแรง )
五禽戏(การออกกำลังกายเลียนแบบสัตว์ 5 ชนิด)
五输配穴法(การจับคู่จุดแบบอู่ซู่ )
五输穴(จุดอู่ซู )
五味(รสยาทั้ง 5 )
五行(ปัญจธาตุ)
五行胜复(การชนะและการฟื้นตัวในความสัมพันธ์ของปัญจธาตุ)
五行相乘(การข่มเกินในความสัมพันธ์ของปัญจธาตุ)
五行相克(การข่มในความสัมพันธ์ของปัญจธาตุ)
五行相生(การสร้างในความสัมพันธ์ของปัญจธาตุ)
五行相侮(การข่มกลับในความสัมพันธ์ของปัญจธาตุ)