|
|||||||||||||||||||||||||||||||||
หน้าหลัก | บทที่ 1 | บทที่ 2 | บทที่ 3 | บทที่ 4 | บทที่ 5 | บทที่ 6 | บทที่ 7 | บทที่ 8 | บทที่ 9 | บทที่ 10 | บทที่ 11 | บทที่ 12 | บทที่ 13 | บทที่ 14 | บทที่ 15 | |
บทที่ 12 สมดุล
ในบทนี้จะศึกษาเกี่ยวกับวัตถุที่อยู่นิ่ง หรือที่เรียกว่าอยู่ในสภาวะสมดุลสถิต (static equilibrium) ซึ่งมีความสำคัญมากในการออกแบบอาคาร สะพาน หรือโครงสร้างต่าง ๆ
เมื่อวัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลสถิตวัตถุจะไม่มีความเร่งเชิงเส้น และความเร่งเชิงมุม จากกฎของสองของนิวตันเมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ และสมการการหมุน
= =
และ
= =
นั่นคือแรงลัพธ์และทอร์คลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุจะมีค่าเท่ากับศูนย์
ทอร์คจะขึ้นอยู่กับจุดหมุนที่เราเลือก พิจารณารูปที่ 12.1 เมื่อวัตถุสมดุลภายใต้แรงทั้งสอง ผลรวมของทอร์คเมื่อเทียบกับจุดกำเนิด จะมีค่าเท่ากับศูนย์ ในนำนองเดียวกันที่จุด ถ้าระบบสมดุลผลรวมของทอร์ครอบจุด จะมีค่าเท่ากับศูนย์เช่นกัน
ทอร์ครอบจุด คือ
=
เวกเตอร์ตำแหน่งเขียนได้ดังนี้
=
=
รูปที่ 12.1
ดังนั้นทอร์ครอบจุด สามารถเขียนใหม่ได้เป็น
=
อาศัยกฎการกระจาย
จัดเทอมใหม่
=
=
เทอมแรกที่ได้เป็นทอร์ครอบจุดกำเนิด ส่วนเทอมที่สองค่าในวงเล็บเป็นทอร์คที่เกิดจากแรงรวมทั้งหมด
=
เนื่องจากทอร์ครอบจุดกำเนิดเท่ากับศูนย์ และทอร์คที่เกิดจากแรงลัพธ์มีค่าเท่ากับศูยน์วัตถุจึงสมดุลล
ตัวอย่างที่ 12.1 โคมไฟหนัก แขวนที่จุดกึ่งกลางของเชือกซึ่งยาว ทำให้เชือกหย่นลงมา จากแนวระดับดังรูปที่ 12.2 จงหาแรงตึงเชือก
วิธีทำ มุมที่แรงตึงเชือกกระทำกับแนวระดับ คำนวณได้จาก
= =
ให้ คือระยะที่เชือกหย่อนจากแนวระดับ
คือความยาวเชือก
=
=
รูปที่ 12.2
แต่โคมไฟแขวนอยู่ที่จุดกึ่งกลางของเชือก ทำให้มุมและแรงตึงเชือกทั้งสองด้านมีค่าเท่ากัน อาศัยกฎข้อสองของนิวตันพิจารณาที่ตำแหน่งเชือกติดกับโคมไฟ
=
=
=
=
แทนค่าต่าง ๆ ลงในสมการ
=
=
ตังอย่างที่ 12.2 ไม้กระดานยาว มีมวล ที่ปลายทั้งสองด้านมีเสาค้ำอยู่ ชายคนหนึ่งมีมวล ยืนห่างจากปลายไม้กระดานทางซ้ายมือเป็นระยะ ดังรูปที่ 12.3 จงหาแรงที่เสาแต่ละต้น
วิธีทำ การเลือกจุดหมุนให้เลือกจุดที่ไม่ทราบค่า จุดใดจุดหนึ่งให้เป็นจุดหมุน เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณเนื่องจากจะทำให้ค่าทอร์คเป็นศูนย์
จากกฎการหมุน พิจารณาที่ไม้กระดาน เมื่อให้จุดที่มีแรง ผ่านเป็นจุดหมุน และกำหนดให้ทอร์คทวนเข็มนาฬิกามีค่าเป็นบวก
รูปที่ 12.3
=
=
=
แทนค่าต่าง ๆ ลงในสมการ
=
=
จากกฎข้อสองของนิวตัน
=
=
=
=
=
ตัวอย่างที่ 13.3 หนังสือมวล โดยวางเอียงกับชั้นวางหนังสือลื่น โดยวางทำมุม กับพื้นดังรูปที่ 12.4 จงหาแรงต่าง ที่กระทำต่อหนังสือแล้วทำให้หนังสือสมดุล
วิธีทำ จะไม่มีแรงเสียดทานระหว่างหนังสือกับชั้นวางเนื่องจากเป็นชั้นลื่น พิจารณาแรงต่าง ๆ ที่กระทำต่อหนังสือจะได้ว่า
= =
จากกฎข้อสองของนิวตัน และการหมุน โดยพิจารณาดังรูปที่ 12.4 พิจารณาการเลื่อนตำแหน่ง
=
=
= ……………(1)
=
รูปที่ 12.4 =
=
=
พิจารณาการหมุน กำหนดให้ที่พื้นเป็นจุดหมุน
=
=
=
=
แทนค่า ลงในสมการที่ (1)
=
ตัวอย่างที่ 13.4 ล้อจักรยานเสือภูเขารัศมี รับน้ำหนัก จงหาแรงที่น้อยที่สุดที่กระทำผ่านแกนของล้อในแนวราบ แล้วทำให้ล้อจักรยานเสือภูเขาเคลื่อนที่ผ่านขอบถนนซึ่งสูง ได้ ดังรูปที่ 12.5
วิธีทำ หาแรงที่กระทำต่อล้อจักรยานเสือภูเขา ได้แก่แรงเนื่องจากน้ำหนัก แรงในแนวราบ ซึ่งเป็นแรงเนื่องจากรถ แรงปฎิกริยา เนื่องจากขอบถนนกระทำกับล้อรถจักรยานโดยแรงนี้จะผ่านจุดศูนย์กลางของล้อรถ และแรงเสียดทาน เนื่องจากขอบถนน ส่วนแรงปฎิกริยาที่พื้นกระทำต่อล้อรถจะมีค่าเป็นศูนย์ เนื่องจากล้อรถยกตัวจากพื้นขณะที่จะผ่านขอบถนน มุมที่แรงปฎิกริยากระทำกับแนวราบสามารถคำนวณได้จากกฎของ
รูปที่ 12.5 =
=
=
=
ใช้ขอบถนนเป็นจุดหมุนเนื่องจากเราไม่ทราบแรงปฎิกริยา จากสมการการหมุน
=
=
= =
=
ตัวอย่างที่ 13.5 จงคำนวณหารูปร่างของสายเคเบิลที่รองรับสะพานมวล เมื่อระยะห่างระหว่างตอม่อสะพานในแนวระดับยาว ดังรูปที่ 12.6
รูปที่ 12.6 รูปที่ 12.7
วิธีทำ แรงที่กระทำต่อสายเคเบิ้ลส่วนเล็ก ๆ ประกอบด้วยแรงตึงเชือกที่กระทำต่อส่วนบนของเส้นเชือก แรงตึงเชือกที่ส่วนล่างของเส้นเชือก และน้ำหนักของถนนส่วนเล็ก ๆ ซึ่งอยู่ใต้สายเคเบิ้ลส่วนเล็ก ๆ ที่เราพิจารณาดังรูปที่ 12.7
พิจารณาส่วนเล็ก ๆ จากกฎข้อสองของนิวตัน
=
=
=
และ
=
=
=
แต่สัดส่วนของน้ำหนักส่วนเล็ก ๆ เทียบกับน้ำหนักทั้งหมด จะมีค่าเท่ากับระยะในแนวราบเล็ก ๆ เทียบกับระยะทางในแนวราบทั้งหมด
=
=
จากสมการในแนวแกน สามารถเขียนใหม่ได้เป็น
=
จะได้ = ……….. (1)
จากรูปที่ 12.7 จะได้มุมแสดงความสัมพันธ์ของแรงตึงเชือกคือ
=
และ =
เนื่องจากองค์ประกอบในแนวแกน ของแรงตึงเชือกไม่มีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของมุมคือ
= =
=
=
แทนค่าลงในสมการแนวแกน (สมการที่ 1)
=
=
Take limit ให้ จะได้
= = ……… (2)
เมื่อค่า สามารถเขียนอยู่ในรูปของเทอม และ ได้ ดังนั้น
=
= =
แทนค่ามุม ลงในสมการที่ (2)
=
=
สมการที่ได้ค่าทางขวามือจะเป็นค่าคงที่ ดังนั้นคำตอบของสมการคือ
=
=
= =
จะได้เป็นรูปพาลาโบล่า ซึ่งคำนวณมาจากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันนั่นเอง
สรุป
สมดุล : และ