Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
合谷
合谷
hé gǔ
手阳明经原穴。手背第 2 掌骨桡侧的中点处。主治齿痛、头痛、目赤肿痛、鼻衄、耳聋、咽喉肿痛,闭经、滞产,中风、面瘫,癫狂,感冒等病症;多种五官及颈部手术针刺麻醉常用穴。
จุดเหอกู่
เหอกู่
จุดหยวนของเส้นลำไส้ใหญ่ อยู่บริเวณหลังมือ ตรงตำแหน่งกึ่งกลางของกระดูกฝ่ามือที่ 2 ด้าน radial ข้อบ่งใช้: ปวดฟัน ปวดศีรษะ ตาอักเสบ เลือดกำเดาไหล หูตึง หูหนวก เจ็บคอ ประจำเดือนไม่มา ภาวะคลอดยาก โรคหลอดเลือดสมอง อัมพาตใบหน้า โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง และไข้หวัด ยังเป็นจุดฝังเข็มช่วยเสริมการระงับความรู้สึกที่ใช้บ่อยในการผ่าตัดโรคตา หู คอ จมูก และปาก
hegu
the yuan point of the large intestine meridian, located on dorsal hand, at the midpoint of the radial side of the 2nd metacarpal bone. Indications: toothache, headache, inflammation of eye, epistaxis, hearing loss, sore throat, amenorrhea, prolonged labor, stroke, facial paralysis, depressive psychosis, mania and common cold. It is commonly used in acupuncture anesthesia for eye, ear, nose, throat and neck operations.

More
呵欠(หาว) | 合邪(เสฺยชี่ร่วม) | 合阳(จุดเหอหยาง) | 黑便(อุจจาระดำ) | 黑带(ตกขาวสีดำ) | 横骨(จุดเหิงกู่) | 红星舌(ตุ่มลิ้นนูนแดง) | 喉痹(เจ็บคอหอย) | 后顶(จุดโฮ่วติ่ง) | 厚朴温中汤(ตำรับยาโฮ่วพ่อเวินจง) | 后天之本(ฐานหลังกำเนิด) | 后溪(จุดโฮ่วซี) | 华盖(จุดหฺวาก้าย) | 滑肉门(จุดหฺวาโร่วเหมิน) | 缓脉(ชีพจรหย่อน) | 环跳(จุดหฺวานเที่ยว) | 黄瓣苔(ฝ้ากลีบเหลือง) | 黄汗(เหงื่อเหลือง) | 黄连解毒汤(หฺวางเหลียนเจฺย่ตู๋) | 黄龙汤(ตำรับยาหฺวางหลง) | 肓门(จุดฮฺวางเหมิน) | 黄芪桂枝五物汤(ตำรับยาหฺวางฉีกุ้ยจืออู่อู้) | 肓俞(จุดฮฺวางซู) | 会阳(จุดฮุ่ยหยาง) | 会阴(จุดฮุ่ยยิน) | 会宗(จุดฮุ่ยจง) | 魂门(จุดหุนเหมิน) | 肌痹(ปวดกล้ามเนื้อ) | 济川煎(ตำรับยาจี้ชวน) | 积粉苔(ฝ้าหนาเหมือนแป้ง) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์