Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
孔最
孔最
kǒng zuì
手太阴经郄穴。位于前臂前区,腕掌侧远端横纹上7寸,尺泽(LU 5)与太渊(LU 9)的连线上。主治发热无汗,咳嗽、咯血、气喘、咽喉肿痛,以及肘臂疼痛等病症。
จุดข่งจุ้ย
ข่งจุ้ย
จุดซี่ของเส้นปอด อยู่บริเวณแขนด้านใน บนแนวเส้นที่เชื่อมระหว่างฉื่อเจ๋อ (LU 5) กับท่ายเยฺวียน (LU 9) เหนือรอยพับข้อมือ 7 ชุ่น ข้อบ่งใช้: มีไข้เหงื่อไม่ออก ไอ ไอเป็นเลือด หอบ เจ็บคอ และปวดข้อศอก
kongzui
the xi point of the lung meridian, located on the medial side of the forearm, 7 cun above the transverse wrist crease, on the line connecting chize (LU 5) and taiyuan (LU 9). Indications: fever without sweating, cough, hemoptysis, dyspnea, sore throat and elbow pain.

More
口撮(ปากเม้ม) | 口淡(จืดปาก) | 口动(ปากขยิบ) | 口禾髎(จุดโข่วเหอเหลียว) | 口噤(กัดฟันแน่น) | 口苦(ขมปาก) | 口腻(เหนียวปาก) | 口酸(เปรี้ยวปาก) | 口咸(เค็มปาก) | 口眼喎斜(อัมพาตใบหน้า) | 口张(ปากอ้าค้าง) | 库房(จุดคู่ฝาง) | 宽胸(ขยายทรวงอกให้โล่ง) | 狂言(พูดจาคลุ้มคลั่ง) | 昆仑(จุดคุนหลุน) | 劳宫(จุดหลาวกง) | 牢脉(ชีพจรมั่น) | 老舌(ลิ้นหยาบ) | 劳则气耗(ตรากตรำสูญชี่) | 类剥苔(ฝ้าลิ้นลอก) | 冷汗(เหงื่อเย็น) | 冷痛(ปวดเย็น) | 厉兑(จุดลี่ตุ้ย) | 蠡沟(จุดหลีโกว) | 里急后重(ปวดบิด) | 理中丸(ตำรับยาหลี่จง) | 廉泉(จุดเหลียนเฉฺวียน) | 良附丸(ตำรับยาเหลียงฟู่) | 梁门(จุดเหลียงเหมิน) | 梁丘(จุดเหลียงชิว) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์