Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
阳池
阳池
yáng chí
手少阳经原穴。位于腕后区,腕背侧远端横纹上,指伸肌腱的尺侧缘凹陷中。主治手腕痛,肩臂痛;疟疾;口干等病症。
จุดหยางฉือ
หยางฉือ
จุดหยวนของเส้นซานเจียว อยู่บนเส้นข้อมือด้านนอก ตรงรอยบุ๋มอยู่ชิดขอบด้าน ulnar ของเอ็น extensor digitorum communis ข้อบ่งใช้: ปวดข้อมือ ปวดไหล่ ไข้จับสั่น และปากแห้ง
yangchi
the yuan point of the tripple energizer meridian, located in the depression of the dorsal wrist transverse crease on the ulnar side of the extensor digitorum communis tendon. Indications: wrist pain, shoulder pain, malaria and dry mouth.

More
阳道实(วิถีหยางแกร่ง) | 阳辅(จุดหยางฝู่) | 阳纲(จุดหยางกาง) | 阳谷(จุดหยางกู่) | 阳黄(เหลืองชนิดหยาง) | 阳交(จุดหยางเจียว) | 养老(จุดหยางหล่าว) | 阳陵泉(จุดหยางหลิงเฉฺวียน) | 阳明病(โรคหยางหมิง) | 阳明腑证(ภาวะโรคฝู่หยางหมิง) | 阳明经证(ภาวะโรคเส้นหยางหมิง) | 阳水(บวมน้ำชนิดหยาง) | 阳溪(จุดหยางซี) | 阳脏人(คนลักษณะหยาง) | 腰俞(จุดยาวซู) | 腰阳关(จุดยาวหยางกฺวาน) | 液门(จุดเย่เหมิน) | 以常衡变(ความปกติเป็นเกณฑ์วัด) | 翳风(จุดอี้เฟิง) | 乙癸同源(ตับไตกำเนิดเดียวกัน) | 以母为基,以父为楯(แม่เป็นฐาน พ่อเป็นคาน) | 阴廉(จุดยินเหลียน) | 阴陵泉(จุดยินหลิงเฉฺวียน) | 殷门(จุดยินเหมิน) | 淫气于筋(เติมชี่เลี้ยงเอ็น) | 银翘散(ตำรับยาหยินเชี่ยว) | 阴市(จุดอินซื่อ) | 阴水(บวมน้ำชนิดยิน) | 印堂(จุดยิ่นถาง) | 隐痛(ปวดรำคาญ) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์