Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
经渠
经渠
jīng qú
手太阴经经穴。位于前臂前区,腕掌侧远端横纹上1寸,桡骨茎突与桡动脉之间。主治咳嗽、气喘、胸痛、咽喉肿痛,以及手腕痛或无力等病症。
จุดจิงฉฺวี
จิงฉฺวี
จุดจิงของเส้นปอด อยู่บริเวณแขนด้านใน เหนือรอยพับข้อมือ 1 ชุ่น ระหว่าง styloid process ของกระดูก radius กับหลอดเลือดแดง radial ข้อบ่งใช้: ไอ หอบ ปวดทรวงอก เจ็บคอ และข้อมือปวดหรือไม่มีแรง
jingqu
the jing point of the lung meridian, located on the medial aspect of the forearm, 1 cun above the transverse wrist crease, between the radial styloid process and radial artery. Indications: cough, dyspnea, thoracic pain, sore throat and weakness or pain of wrist.

More
精神专直(จิตมีสมาธิ) | 精室(ห้องเก็บจิง) | 泾溲不利(หนักเบาไม่คล่อง) | 鸠尾(จุดจิวเหว่ย) | 九味羌活汤(ตำรับยาจิ่วเว่ยเชียงหัว) | 九仙散(ตำรับยาจิ่วเซียนส่าน) | 举法(วิธีแตะ) | 巨骨(จฺวี้กู่) | 巨髎(จุดจฺวี้เหลียว) | 居髎(จุดจฺวีเหลียว) | 巨阙(จุดจฺวี้เชวี่ย) | 决渎之官(อวัยวะระบายน้ำ) | 绝汗(เหงื่อท่วม) | 厥阴病证(ภาวะโรคเจฺวี๋ยยิน) | 厥阴俞(จุดเจฺวี๋ยยินซู) | 君相安位(จฺวินเซี่ยงสถิตเสถียร) | 君主之官(อวัยวะจักรพรรดิ) | 咯血(ไอเป็นเลือด) | 咳逆上气(ไอหอบจากชี่ย้อน) | 咳逆倚息(ไอหอบจนต้องนั่ง) | 客色(สีผิวเปลี่ยน) | 空外以张(บานสู่ภายนอก) | 孔最(จุดข่งจุ้ย) | 口撮(ปากเม้ม) | 口淡(จืดปาก) | 口动(ปากขยิบ) | 口禾髎(จุดโข่วเหอเหลียว) | 口噤(กัดฟันแน่น) | 口苦(ขมปาก) | 口腻(เหนียวปาก) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์