Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
九味羌活汤
九味羌活汤
jiǔ wèi qiāng huó tāng
组成:羌活、防风、苍术、细辛、川芎、白芷、生地黄、黄芩、甘草。功用:发汗祛湿,兼清里热。主治:外感风寒湿邪,内有蕴热证。
ตำรับยาจิ่วเว่ยเชียงหัว
จิ่วเว่ยเชียงหัวทาง
ชื่อตำรับยา ประกอบด้วยตัวยาเชียงหัว ฝางเฟิง ชางจู๋ ซี่ซิน ชวนซฺยง ป๋ายจื่อ เซิงตี้หฺวาง หฺวางฉิน และกานฉ่าว สรรพคุณ: ขับเหงื่อ ขจัดความชื้น และดับร้อนภายใน ข้อบ่งใช้: ภาวะโรคภายนอกเหตุลมเย็นชื้น มีความร้อนสะสมภายใน
jiuweiqianghuo decoction
a formula composed of qianghuo, fangfeng, cangzhu, xixin, chuanxiong, baizhi, shengdihuang, huangqin and gancao. Actions: inducing sweating, resolving damp and clearing internal heat. Indication: wind-cold-damp exterior disease-condition with accumulated internal heat.

More
九仙散(ตำรับยาจิ่วเซียนส่าน) | 举法(วิธีแตะ) | 巨骨(จฺวี้กู่) | 巨髎(จุดจฺวี้เหลียว) | 居髎(จุดจฺวีเหลียว) | 巨阙(จุดจฺวี้เชวี่ย) | 决渎之官(อวัยวะระบายน้ำ) | 绝汗(เหงื่อท่วม) | 厥阴病证(ภาวะโรคเจฺวี๋ยยิน) | 厥阴俞(จุดเจฺวี๋ยยินซู) | 君相安位(จฺวินเซี่ยงสถิตเสถียร) | 君主之官(อวัยวะจักรพรรดิ) | 咯血(ไอเป็นเลือด) | 咳逆上气(ไอหอบจากชี่ย้อน) | 咳逆倚息(ไอหอบจนต้องนั่ง) | 客色(สีผิวเปลี่ยน) | 空外以张(บานสู่ภายนอก) | 孔最(จุดข่งจุ้ย) | 口撮(ปากเม้ม) | 口淡(จืดปาก) | 口动(ปากขยิบ) | 口禾髎(จุดโข่วเหอเหลียว) | 口噤(กัดฟันแน่น) | 口苦(ขมปาก) | 口腻(เหนียวปาก) | 口酸(เปรี้ยวปาก) | 口咸(เค็มปาก) | 口眼喎斜(อัมพาตใบหน้า) | 口张(ปากอ้าค้าง) | 库房(จุดคู่ฝาง) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์