Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
前谷
前谷
qián gǔ
手太阳经荥穴。在手尺侧,微握拳,第五掌指关节前的掌指横纹头赤白肉际处。主治手指麻木、发热、头痛、耳鸣、小便短赤等病症。
จุดเฉียนกู่
เฉียนกู่
จุดหยิงของเส้นลำไส้เล็ก เมื่อกำมือหลวมๆ จะอยู่ตรงแอ่งใต้ต่อข้อสันหมัดที่ 5 ด้าน ulnar ตรงรอยต่อสีผิว ข้อบ่งใช้: ชานิ้วมือ เป็นไข้ ปวดศีรษะ หูมีเสียงดัง และปัสสาวะน้อยสีเข้ม
qiangu
the ying point of the small intestine meridian, located distal to the ulnar side of the 5th metacarpophalangeal joint on the dorso-ventral boundary, when a loose fist is made. Indications: numbness of finger, fever, headache, tinnitus and scanty dark urine.

More
强间(จุดเฉียงเจียน) | 清法(วิธีดับร้อน) | 青蒿鳖甲汤(ตำรับยาชิงฮาวเปฺยเจี่ย) | 青筋暴露(เส้นเลือดดำโป่ง) | 清冷渊(จุดชิงเหลิ่งเยฺวียน) | 青灵(จุดชิงหลิง) | 清胃散(ตำรับยาชิงเว่ย) | 清阳发腠理(หยางกระจายทั่ว) | 清营汤(ตำรับยาชิงหยิง) | 丘墟(จุดชิวซฺวี) | 曲鬓(จุดชฺวีปิ้น) | 曲差(จุดชฺวีชา) | 曲池(จุดชฺวีฉือ) | 曲骨(จุดชฺวีกู่) | 曲泉(จุดชฺวีเฉฺวียน) | 曲垣(จุดชฺวีหยวน) | 曲泽(จุดชฺวีเจ๋อ) | 颧髎(จุดเฉฺวียนเหลียว) | 全苔(ฝ้าเต็มลิ้น) | 缺盆(จุดเชฺวียเผิน) | 然谷(จุดหรานกู่) | 热痹(ปวดข้อชนิดร้อน) | 热汗(เหงื่อร้อน) | 热极生风证(ภาวะโรคร้อนจัดเกิดลม) | 人身之气(ชี่ของกายคน) | 人迎(จุดเหรินหยิง) | 人迎寸口(ชีพจรคอเทียบข้อมือ) | 日晡潮热(ไข้สูงตอนบ่าย) | 日月(จุดรื่อเยฺวี่ย) | 乳根(จุดหรู่เกิน) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์