Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
温溜
温溜
wēn liū
手阳明经郄穴。位于前臂,腕背侧远端横纹上5寸,阳溪(LI 5)与曲池(LI 11)的连线上。主治面肿,咽喉肿痛,以及头痛,腹痛、肠鸣,肩背酸痛,疔疮等病症。
จุดเวินลิว
เวินลิว
จุดซี่ของเส้นลำไส้ใหญ่ อยู่บริเวณแขนด้านนอก เหนือเส้นข้อมือ 5 ชุ่น บนเส้นที่เชื่อมระหว่างหยางซี (LI 5) กับชฺวีฉือ (LI 11) ข้อบ่งใช้: หน้าบวม เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวดท้อง ท้องร้อง ปวดเมื่อยสะบัก และเป็นตุ่มฝี
wenliu
the xi point of the large intestine meridian, located on the line connecting yangxi (LI 5) and quchi (LI 11), 5 cun above the dorsal wrist crease. Indications: swollen face, sore throat, headache, abdominal pain, borborygmus, soreness and pain of scapula, and furuncle.

More
温脾汤(ตำรับยาเวินผี) | 五处(จุดอู่ชู่) | 恶风(กลัวลม) | 无根苔(ฝ้าลิ้นไร้ราก) | 五积散(ตำรับยาอู่จี) | 五轮学说(ทฤษฏีห้าวงล้อ) | 五十动(ห้าสิบครั้ง) | 五枢(จุดอู่ซู) | 五态之人(ปัญจลักษณ์มนุษย์) | 五味消毒饮(ตำรับยาอู่เว่ยเซียวตู๋) | 五形之人(ปัญจรูปมนุษย์) | 屋翳(จุดอูอี้) | 五脏宜补(จ้างห้าควรบำรุง) | 吴茱萸汤(ตำรับยาอู๋จูหยฺวี) | 息道(ทางเดินหายใจ) | 膝关(จุดซีกฺวาน) | 郄门(จุดซี่เหมิน) | 膝阳关(จุดซีหยางกฺวาน) | 侠白(จุดเสียป๋าย) | 下法(การขับถ่าย) | 下关(จุดเซี่ยกฺวาน) | 下焦病证(ภาวะโรคเซี่ยเจียว) | 下巨虚(จุดเซี่ยจฺวี้ซฺวี) | 下廉(จุดเซี่ยเหลียน) | 下髎(จุดเซี่ยเหลียว) | 下脘(จุดเซี่ยหว่าน) | 侠溪(จุดเสียซี) | 陷谷(จุดเซี่ยนกู่) | 相傅之官(อวัยวะอัครมหาเสนาบดี) | 相兼脉(ชีพจรควบ) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์