Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
冲阳
冲阳
chōng yáng
足阳明经原穴。位于足背,第2跖骨基底部与中间楔状骨关节处,可触及足背动脉。主治胃痛、腹胀,口眼喎斜、面肿、齿痛,癫狂,足痿无力或肿痛等病症。
จุดชงหยาง
ชงหยาง
จุดหยวนของเส้นกระเพาะอาหาร จุดฝังเข็มบริเวณหลังเท้า บนกระดูก intermediate cuneiform ที่คลำได้ชีพจร ข้อบ่งใช้: ปวดกระเพาะอาหาร แน่นท้อง อัมพาตใบหน้า หน้าบวม ปวดฟัน โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง และเท้าลีบอ่อนแรงหรือปวดบวม
chongyang
the yuan point of the stomach meridian, located on the dorsal foot, between the junction of the base of the 2nd metatarsal and intermediate cuneiform bone, where dorsalis pedis artery pulsates. Indications: stomache, abdominal distention, facial paralysis, swollen face, toothache, depressive psychosis, mania; atrophy, weakness, swelling or pain of foot.

More
初潮(ประจำเดือนครั้งแรก) | 触法(วิธีลูบ) | 怵惕(ตกใจหวาดกลัว) | 除中(จงชี่สูญสิ้น) | 传道之官(อวัยวะลำเลียง) | 传化之腑(อวัยวะแปรสภาพ-ลำเลียง) | 喘脱(หอบเจียนขาดใจ) | 喘证(ภาวะโรคหอบ) | 唇风(ลมรุกรานริมฝีปาก) | 唇四白(ขาวรอบริมฝีปาก) | 纯阳之体(ร่างกายเป็นหยางบริสุทธิ์) | 纯阴结(ยินบริสุทธิ์สะสม) | 次髎(จุดชื่อเหลียว) | 刺络疗法(วิธีปล่อยเลือด) | 刺痛(ปวดแบบเข็มแทง) | 攒竹(จุดฉวนจู๋) | 寸口诊法(วิธีตรวจที่ชุ่นโข่ว) | 撮口(ปากจู๋) | 错语(พูดสลับหน้าหลัง) | 大包(จุดต้าปาว) | 大便失禁(กลั้นอุจจาระไม่ได้) | 大肠俞(จุดต้าฉางซู) | 大肠泄(ท้องเสียจากลำไส้ใหญ่) | 大肠主传导(ลำไส้ใหญ่คุมการลำเลียง) | 大承气汤(ตำรับยาต้าเฉิงชี่) | 大都(จุดต้าตู) | 大敦(จุดต้าตุน) | 大骨枯槁(ผอมเหลือแต่กระดูก) | 大汗(เหงื่อออกมาก) | 大赫(จุดต้าเฮ่อ) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์